ความรู้ ประกันภัยรถยนต์ เบื้องต้นฉบับ2560

ผู้เขียนข้อความ

BenRacing

member
เขียนกระทู้: 3
ตอบกระทู้: 1
พลังน้ำใจ: 0 (ขอบคุณ)
28 ตุลาคม 2560 12:39 - อ่าน: 1,520 - ตอบ: 0

ประกันภัยรถยนต์

ประกันภัยรถยนต์ คือการกระจายความเสี่ยงทางรถยนต์แก่ผู้รับประกันภัยโดยผู้ทำประกันภัยจะต้องเสียค่าเบี้ยประกันภัยรถยนต์ให้แก่ผู้รับประกันภัยและผู้รับประกันภัยจะต้องให้ความคุ้มครองช่วยเหลือเป็นค่าสินไหมทดแทนตามเงื่อนไขของกรมธรรม์ให้แก่ผู้ทำประกันภัย 

ประกันภัยรถยนต์ มีทั้งหมด 2 ประเภท ด้วย นั้นคือ ประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ และ ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ ครับ

ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ

นั้นก็คือ พรบ รถยนต์ นั้นเอง โดยในส่วนของ พรบ รถยนต์ นั้นเราทุกคนที่ใช้รถยนต์บนท้องถนนจะต้อง ทำทุกคนครับ เพราะว่ากฏหมายเค้าบังคับให้ทำ ประกันรถยนต์ ประเภทนี้ เพื่อเป็นการป้องกันอุบัติเหตุเมื่อเกิดกับตัวผู้ขับขี่แล้วมีความเสียหายต่อร่างกายและชีวิตเกิดขึ้น โดย ประโยนช์ที่เราจะได้รับจาก พรบ นั้นคือ ได้รับค่ารักษาพยาบาลตามจำนวนที่จ่ายจริง ทั้งของเราและคู่กรณี พร้อมทั้งเป็นการยืนยันต่อ ทางโรงพยาบาลด้วยว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาลแน่นอน ให้ทำการรักษา ได้เลย  พรบ. รถยนต์ ได้รับการจัดตั้งขึ้นมาจากพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535

ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ

ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ มีทั้งหมด 4 รูปแบบด้วยกัน นั้นคือ ประกันภัยรถยนต์ชั้น 1 2+ 3+ และ 3 เป็นประกันภัยรถยนต์ที่เราสามารถเลืิอกได้เองตามความสมัครใจ ภาคสมัครใจ จะมีค่าเบี้ยประกันภัยรถยนต์ มากกว่าประกันภาคบังคับ เนื่องจาก มีความคุ้มครองที่มากกว่าและทุนประกันที่มากกว่าครับ

สาเหตุที่ผมคิดว่าเราควรทำประกันภัยรถยนต์ก็เพราะผมคิดว่าเราควรที่จะป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตที่ไม่แน่นอน ประเทศไทยมีการเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์แล้วเสียชีวิตมากกว่า 2 หมื่นคนต่อปี เป็นอันดับ 2 ของโลก ( ข้อมูลจาก WHO ) ดังนั้นเราไม่มีทางรู้ได้เลยว่า อุบัติเหตุจะเกิดขึ้นกับเราเมื่อไร ทางทีดีหาทางป้องกันเอาไว้ก่อนจะดีที่สุดอย่างๆน้อยก็ยังมีคนช่วยเรื่องค่าเสียหายที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ค่าซ่อมรถ ค่ารักษาพยาบาล ทั้งเรา คู่กรณี และ บุคคลภายนอก  หรือ ค่าเงินประกันตัว 

ขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก

http://www.prakanmart.net/

แก้ไขล่าสุดโดย BenRacing เมื่อ 28 ตุลาคม 2560 - 12:41

กระทู้อื่นๆที่เกี่ยวข้อง


ตอบกระทู้ด่วน

กรุณาล็อคอินก่อนทำการตอบกระทู้นี้
สมัครสมาชิก หรือ ล็อคอิน